ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ที่มีต่อมโนมติทางวิทยาศาสตร์และความสุขในการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนย่านตาขาวรัฐชนูปถัมภ์ จังหวัดตรัง = The effects of proactive learning management in the topic of cells of living things on scientific concepts and happiness in science learning of Matthayom Suksa V students at Yantakhao Ratchanupatham School in Trang Province / นายปรเมศวร์ ขาวสุด.
By: ปรเมศวร์ ขาวสุด, ผู้แต่ง.
Contributor(s): ดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษา.
| สุจินต์ วิศวธีรานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา.
| มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.
Call number: Thes ศษ 8 ป48 2562 Material type: 




Item type | Location | Location | Call number | Copy number | Barcode | Status | Date due |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
ODI General Collection | ODI Theses | Thes ศษ 8 ป48 2562 (Browse shelf) | 1 | 1000531340 | Available |
พิมพ์ดีด (ถ่ายสำเนา)
วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562.
บรรณานุกรม: แผ่นที่ [94]-101.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของมโนมติ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความสุขในการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีคะแนนเฉลี่ยของมโนมติ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีความสุขในการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
There are no comments for this item.